หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาการเมืองการปกครอง (ปรับปรุง พ.ศ.2563)

  • รัฐศาสตรบัณฑิต (การเมืองการปกครอง) หรือ ร.บ. (การเมืองการปกครอง)
  • Bachelor of Political Science (Politics and Government) or B.Pol.Sc. (Politics and Govenrment)
  1. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
  2. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ทุกสาขาวิชา หรือ
  3. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือ
  4. สำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 23 ชุดวิชา (138 หน่วยกิต)

  • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุดวิชา (30 หน่วยกิต)
    • 10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
    • 10121 อารยธรรมมนุษย์
    • 10131 สังคมมนุษย์
    • 10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
    • 10151 ไทยศึกษา
  • หมวดวิชาเฉพาะ 17 ชุดวิชา (102 หน่วยกิต)
    • วิชาแกน 7 วิชา (42 หน่วยกิต
      • 41463 องค์ความรู้ด้านกระบวนการยุติธรรม หลักสิทธิมนุษยชน และหลักธรรมภิบาล
      • 80120 หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์
      • 80212 หลักพื้นฐานทางรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ
      • 80410 ประสบการณ์วิชาชีพรัฐศาสตร์
      • 82201 หลักพื้นฐานความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
      • 82202 การเมืองเปรียบเทียบ
      • 80111 หลักพื้นฐานการเมืองการปกครองไทย
    • วิชาเฉพาะด้าน 10 ชุดวิชา (60 หน่วยกิต)
      • 33207 เศรษฐศาสตร์และการคลังสาธารณะ
      • 80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย
      • 80205 พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมของการเมืองไทย
      • 81310 ปรัญชาการเมือง
      • 81314 หลักเบื้องต้นของการวิจัยทางรัฐศาสตร์
      • 83201 การเมืองการปกครองท้องถิ่น
      • 83203 ประชาธิปไตยและกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย
    • และเลือก 2 ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้
      • 33311 การบริหารโครงการ
      • 33442 การจัดการเชิงกลยุทธ์ในภาครัฐ
      • 33449 การบริหารการบริการสาธารณะและเครือข่าย
      • 80204 เศรษฐกิจกับการเมืองไทย
      • 81311 หลัุกและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์
      • 81427 กฎหมายอาญา สำหรับรัฐศาสตร์
      • 81428 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานหลักฐาน สำหรับรัฐศาสตร์
      • 82321 การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชีย
      • 82327 อาเซียนเบื้องต้น
      • 82426 การเมืองการปกครองในยุโรปและอเมริกา
  • หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา  (6 หน่วยกิต)
    • ใบสมัคร
    • รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร
    • รายละเอียดชุดวิชา

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต แขนงวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (ปรับปรุง พ.ศ.2563)

  • รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสัมพันธ์ประเทศ) หรือ ร.บ. (ความสัมพันธ์ประเทศ)
  • Bachelor of Political Science (International Relations) or B.Pol.Sc. (International Relations)
  1. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษารับรอง และประกอบอาชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังสำเร็จการศึกษา นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
  2. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษารับรอง โดยมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันเปิดภาคการศึกษา หรือ
  3. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.3) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ
  4. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)
  5. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ทุกสาขาวิชา หรือ
  6. สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือ
  7. สำเร็จอนุปริญญา หรือปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 23 ชุดวิชา (138 หน่วยกิต)

  • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5 ชุดวิชา (30 หน่วยกิต)
    • บังคับ 4 วิชา
        • 10121 อารยธรรมนุษย์
        • 10131 สังคมมนุษย์
        • 10141 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
        • 10151 ไทยศึกษา
    • และเลือก 1 ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้
        • 10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
        • 10162 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
        • 10163 ภาษาเขมรเพื่อการสื่อสาร
  • หมวดวิชาเฉพาะ 17 ชุดวิชา (102 หน่วยกิต)
    • วิชาแกน 7 ชุดวิชา (42 หน่วยกิต)
        • 41463 องค์ความรู้ด้านกระบวนการยุติธรรม หลักสิทธิมนุษยชนและหลักธรรมาภิบาล
        • 80102 หลักพื้นฐานทางรัฐศาสตร์
        • 80111 หลักพื้นฐานทางการเมืองการปกครองไทย
        • 80212 หลักพื้นฐานทางรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ
        • 80410 ประสบการณ์วิชาชีพทางรัฐศาสตร์*
      • 82201 หลักพื้นฐานความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
      • 82202 การเมืองเปรียบเทียบ
    • วิชาเฉพาะด้าน 10 ชุดวิชา (60 หน่วยกิต)
      • บังคับ 8 ชุดวิชส
        • 82227 ความคิดทางการเมืองและสังคม
        • 82322 สังคมโลก
        • 82324 เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ
        • 82325 ความขัดแย้งและความร่วมมือระหว่างประเทศ
        • 82327 อาเซียนเบื้องต้น
        • 82328 นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
        • 82429 การระหว่างประเทศของไทย
      • และเลือก 2 ชุดวิชาจากชุดวิชาต่อไปนี้
        • 81314 หลักเบื้องต้นของการวิจัยทางรัฐศาสตร์
        • 81427 กฎหมายอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์
        • 81428 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานหลักฐานสำหรับรัฐศาสตร์
        • 82321 การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชีย
        • 82329 การทูตและนโยบายต่างประเทศ
        • 82425 ลัทธิการเมืองและยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
        • 82426 การเมืองการปกครองในยุโรปและอเมริกา
        • 82427 การพัฒนามนุษย์ในบริบทโลก
  • หมวดวิชาเลือกเสรี 1 ชุดวิชา (6 หน่วยกิต)